Author : ทรัพย์สินทางปัญญา, กรม
Publishing Date : Jul 21, 2023
การจัดทำหนังสือเล่มนี้ เพื่อนำเสนอเส้นทางท่องเที่ยว แนวใหม่ของจังหวัดนครนายก และฉะเชิงเทรา สัมผัสกับธรรมชาติ น้ำตก ซีวอล์กแห่งแรก คาเฟ่เปิดใหม่ ชม ชอป สินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณค่าทรัพย์สินทางปัญญาชุมชน ซึ่งได้จัดทำในรูปแบบวีดีโอ โดยเพจชื่อดัง “ท่องเที่่ยวสะดุุดตา” และเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ ไปสู่สาธารณชนอย่างกว้างขวาง
Author : Taste | Power | Tradition - Geographical Indications as Cultural Property
Publishing Date : May 11, 2023
The idea of origin in terms of space and culture as a special indicator of quality is one of the most influential strands in contemporary food. It impacts on politics, economics and everyday life – and it connects these fields with complex relations of power and culture. With geographical indications, the EU offers an instrument which allows for the declaration of specialties, qualified by their tradition, as typical for a defined area. The declaration serves to protect these products as intellectual and collective property and presents them as culinary heritage, thereby enabling sale at an added value. Accordingly, the EU instrument of geographical indications evokes the interests of a variety of disciplines, such as (agricultural) economics, (social) geography, sociology, anthropology and law. Nonetheless, dialogue and cooperation among the disciplines are quite rare. “Taste | Power | Tradition” gives an insight into this multidisciplinary debate and brings together empirical data and theoretical reflections from different perspectives. The idea of origin in terms of space and culture as a special indicator of quality is one of the most influential strands in contemporary food. It impacts on politics, economics and everyday life – and it connects these fields with complex relations of power and culture. With geographical indications, the EU offers an instrument which allows for the declaration of specialties, qualified by their tradition, as typical for a defined area. The declaration serves to protect these products as intellectual and collective property and presents them as culinary heritage, thereby enabling sale at an added value. Accordingly, the EU instrument of geographical indications evokes the interests of a variety of disciplines, such as (agricultural) economics, (social) geography, sociology, anthropology and law. Nonetheless, dialogue and cooperation among the disciplines are quite rare. “Taste | Power | Tradition” gives an insight into this multidisciplinary debate and brings together empirical data and theoretical reflections from different perspectives.
Author : สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
Publishing Date : Jan 27, 2023
กว่า 20 ปีของการดำเนินโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ได้มีการพัฒนา สร้างสรรค์ และ ต่อยอดภูมิปัญญาที่มีอยู่ไปเป็นผลิตภัณฑ์จำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ เป็นการสร้าง เศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง โดยมีหน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนช่วยเหลือด้านความรู้ เทคโนโลยี ทุน การบริหารจัดการ ตลอดจนการเชื่อมโยงสินค้าจากชุมชนไปสู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ
Author : สุเทพ นิ่มสาย
Publishing Date : Jan 27, 2023
เพื่อให้ทราบถึงลักษณะพฤติกรรมและทัศนคติของผู้บริโภคในอินเดียที่มีต่อการเลือกซื้อ หรือบริโภคทุเรียนไทยและน าข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการก าหนดนโยบายต่างๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งออก ของทุเรียนและผลิตภัณฑ์จากทุเรียนของไทยไปยังตลาดประเทศอินเดีย จากการศึกษาพบว่าผู้บริโภคกว่า ร้อยละ 91.60 ในประเทศอินเดียส่วนใหญ่รู้จักและเคยรับประทานทุเรียน ซึ่งมีทั้งผู้ที่เคยรับประทาน ทุเรียนที่ประเทศไทยและผู้ที่เคยทานในประเทศอินเดีย โดยทุเรียนส่วนใหญ่ที่ผู้บริโภคเลือกซื้อหรือ รับประทานคือทุเรียนที่มีลักษณะเนื้อกรอบนอกนุ่มใน คิดเป็นร้อยละ 54.40 และผู้บริโภคในตลาด ประเทศอินเดียส่วนใหญ่นั้นยังชื่นชอบทุเรียนที่มีรสชาติหวานก าลังดี คิดเป็นร้อยละ 76.40 โดยร้อยละ 76.80 นั้นมักจะเลือกซื้อทุเรียนจากห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ตหรือร้านสะดวกซื้อ เป็นต้น นอกจากนี้ในด้านปัจจัยทางการตลาดยังพบว่า ผู้บริโภคในตลาดอินเดียให้ความส าคัญกับ การได้รับส่วนลดหรือโปรโมชั่นพิเศษต่างๆ จากการเลือกซื้อสินค้านั้นๆ รวมถึงราคาของสินค้าและ คุณภาพของสินค้าที่มีความเหมาะสม
Author : ิโรจน์ ณ ระนอง, ดร., ทัชมัย ฤกษะสุต, วุฒิพงษ์ ตุ้นยุทธ์
Publishing Date : Jan 27, 2023
โครงกำรวิจัยนี้เป็นกำรวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory/Interactive Research) ที่คณะผู้วิจัย ท ำงำนขนำนไปกำรด ำเนินกำรของภำครัฐ เพื่อติดตำม วิเครำะห์ ประเมิน และเสนอแนะแนวทำงจัดกำรกับ กรณีพิพำทเรื่องอ้อยและน ้ำตำลกับบรำซิล และเสนอแนวทำงกำรปรับโครงสร้ำงอุตสำหกรรมอ้อยและ น ้ำตำลของไทย รวมทั้งยกร่ำงหรือแก้ไข พ.ร.บ. อ้อยฯ ให้สอดคล้องกับกติกำขอ ง WTO โดยพยำยำม แก้ปัญหำผลกระทบที่มีต่อเกษตรกรด้วย ซึ่งคณะผู้วิจัยได้รับกำรเสนอเข้ำไปเป็นกรรมำธิกำรวิสำมัญ พิจำรณำร่ำง พรบ. อ้อยและน ้ำตำลทรำยฯ ของสภำผู้แทนรำษฎร และได้ผลักดันให้กระบวนกำรแก้ กฎหมำยมีกำรพิจำรณำอย่ำงรอบด้ำนขึ้น รวมทั้งเสนอแนวทำงแก้ปัญหำผลกระทบด้ำนลบที่อำจจะเกิดกับ เกษตรกรในอนำคตด้วย